วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

การแปลบันเทิงคดี



การแปลบันเทิงคดี

บันเทิงคดีหมายถึง  การแปลบันทึกความดีไม่เอาการแปลบันเทิงสวัสดีหมายถึงงานเขียนทุกประเภทที่อยู่ในประเภทของงานวิชาการและสารคดีทั้งนี้หมายรวมถึงงานบริการและร้อยกรองมันเพิ่มเพื่อนดีมีหลายรูปแบบได้แก่นิทาน นวนิยาย เรื่องสั้น บทเพลง บทกวีและอื่นๆ
1.องค์ประกอบของงานเขียนแบบบันเทิงคดี
บันเทิงคดีเป็นงานเขียนที่มีรูปแบบแตกต่างจากสารคดีทั้งในด้านเนื้อหาและองค์ประกอบทางภาษาในด้านเนื้อหานั้นบันเทิงคดีเสนอเนื้อหาสาระที่มีความเป็นจริงบ้างเช่นการเล่าหรือบรรยายชีวิตความเป็นอยู่เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นอย่างไรก็ตามผู้เขียนจะสอดใส่ความรู้สึกประสบการณ์ลงไปด้วยคือการถ่ายทอดสาระความรู้ในงานบันเทิงคดีมีความแตกต่างจากการเสนอสิ่งเหล่านี้ในสารคดีผู้เขียนบันทึกคดีมีจุดประสงค์หลักผู้ให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่านดังนั้นบันเทิงคดีเป็นการถ่ายทอดสิ่งที่เป็นจินตนาการของผู้เขียนล้วนล้วนๆหรือเป็นการถ่ายทอดจินตนาการของผู้เขียนผสมผสานกับความจริง
ในการแปลบันเทิงสวัสดีผู้แปลต้องคำนึงถึงองค์ประกอบ 2 ประการ องค์ประกอบด้านภาษา (Language  element)และองค์ประกอบที่ไม่ใช่ภาษา( non-Language  element)ซึ่งหมายถึงอารมณ์ช่วงสำรองขององค์ประกอบด้านอารมณ์และท่วงทำนองจะสะท้อนออกไปองค์ประกอบของภาษาดังนั้นองค์ประกอบด้านภาษาจึงเป็นจึงเป็นประเด็นที่ผู้แปลจะต้องให้ความใส่ใจเป็นอย่างยิ่งในการแปลงาน
2 องค์ประกอบด้านภาษาองค์ประกอบด้านภาษา
องค์ประกอบด้านภาษาที่เกี่ยวข้องกับการแปลงงานบันเทิงคดีสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่การใช้สรรพนามและคำเรียกบุคคลการใช้คำที่มีความหมายแฝง และภาษาเฉพาะวรรณกรรมเนื่องจากเรากำลังศึกษาและฝึกหัดแปลต้นฉบับภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งมีคำที่ใช้เรียกบุคคลไม่หลากหลายและยุ่งยากเหมือนภาษาไทย การใช้ภาษามีความหมายแฝงและภาษาเฉพาะวรรณกรรมเท่านั้นโดยจะไม่กล่าวถึงการใช้คำเรียกบุคคล
2.1ภาษาที่มีความหมายแฝงคำศัพท์ในภาษาใดใดประกอบด้วยคำศัพท์ที่มีความหมายตรงตัวหรือความหมายตามตัวอักษร
ในการแปลบันเทิงคดีผู้แปลจะต้องให้ความเสียใจต่อคำศัพท์ทุกตัวจะต้องพิจารณาว่าความสุขนั้นมีความหมายตรงตัวอยู่ในสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากความหมายตรงตัวดังนั้นผู้ประดิษฐ์กล้องใช้ความสามารถไหวพริบจินตนาการและใช้วิจารณญาณเพื่อตัดสินว่าคำศัพท์ที่พบในงานชิ้นหนึ่งหนึ่งมีความหมายแขวงใดใดอยู่บ้าง
2.2ภาษาเฉพาะวรรณกรรมหรือโวหารภาพพจน์
บันเทิงคดีมีรูปแบบภาษาเฉพาะหลายชนิดผู้แปลจะต้องรอจะต้องครอบครูและนำมาใช้อย่างเหมาะสมรูปแบบเฉพาะที่ใช้ในบันเทิงคดีเรียกว่าโวหารภาพพจน์เช่น โวหารอุปมาอุปไมยโวหารอุปลักษณ์ โวหารเย้ยหยันเสียดสี โวหารที่ใช้ส่วนหนึ่งแทนทั้งหมด โวหารที่กล่าวเกินความจริงเป็นต้น
ภาษากลุ่มนี้มีลักษณะเด่นประการหนึ่งคือการสืบทอดวัฒนธรรมด้านต่างๆลงไปในตัวภาษาได้แก่ วัฒนธรรมการกินอยู่ แต่งกาย การงานอาชีพ รวมทั้งภูมิอากาศ ดินฟ้า ความเชื่อศาสนาเศรษฐกิจ การเมือง ภาษากลุ่มนิยมใหญ่ทุกเพศทุกมุมของวัฒนธรรมและอารยธรรมของมนุษย์ชาติโดยถ่ายทอดผ่านภาษาอย่างไรก็ตามเนื่องจากแต่ละชาติแต่ละภาษามีวัฒนธรรมเฉพาะของชาติเมื่อความเป็นเอกลักษณ์ใดๆของชาติสะท้อนออกมาในวรรณกรรมภาษาหนึ่งและคนอื่นๆซึ่งไม่มีลักษณะดังกล่าวอ่านวรรณกรรมนั้นจึงอาจไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิดได้ดังนั้นในการแปลภาษาคุณมีผู้แปลต้องศึกษารายละเอียดของวัฒนธรรมภาษาทั้งในภาษาไทยและภาษามากอย่างลึกซึ้ง
โวหารภาพพจน์อาจจะปรากฎในการเขียนปกติหรือการเขียนเฉพาะอย่างเช่นปรากฏในสุภาษิต คำคม คำพังเพย เป็นต้น
สำหรับการเรียนและการฝึกแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษในระดับเบื้องต้นนี้ผู้เรียนจะต้องรู้จักและทำความคุ้นเคยกับโวหารภาพพจน์ดังกล่าวโดยเฉพาะวงศ์หารอุปมาอุปไมยซึ่งเป็นโวหารภาพพจน์ที่จะปรากฏบ่อย โวหารชนิดนี้มีลักษณะภาษาชัดเจนดังหัวข้อต่อไปนี้คือ
2.2.1รูปแบบของโวหารอุปมาอุปไมยโวหารอุปมาอุปไมยคือการสร้างใกลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อชี้แจงอธิบายอยู่ในสิ่งที่กล่าวมาถึงไม่ชัดเจนและเห็นภาพปวดมากขึ้นข้อสังเกตโวหารอุปมาอุปไมยทางในภาษาอังกฤษและภาษาไทยมักมีคำที่ใช้เป็นลักษณะเฉพาะของภาษาชนิดนี้อยู่อย่างชัดเจน
โวหารอุปมาอุปไมยอังกฤษคัดลอกจากSpeara and Schinke-Llanoโวหารอุปมาอุปไมยไทยได้จากการได้ยินได้ฟังและอยู่ในความทรงจำในฐานะที่เป็นคนไทยและอยู่ในวัฒนธรรมไทยโวหาร    อุปมาอุปไมยทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษมักเกี่ยวข้องกับการเปรียบเทียบ 3 ประเภทคือการเปรียบเทียบคำนามกับคำนาม เปรียบเทียบคำกริยากับกิริยา ในการแปรต้นฉบับภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษซึ่งมีองค์ประกอบทางไวยากรณ์ชัดเจนตายตัวผู้แปลต้องเข้มงวดและยึดหลักไวยากรณ์อย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะในการแปลโวหารอุปมาอุปไมยที่เป็นการเปรียบเทียบเสมือนการสมมุติอาจเป็นการสมมุติสิ่งที่เป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้สำหรับภาษาไทยไม่ว่าโวหารอุปมาอุปไมยจะเป็นการสมมุติแบบใดๆโครงสร้างของภาษาก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่สำหรับแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษผู้แปลจะต้องวิเคราะห์การใช้โวหารอุปมาอุปไมยในต้นฉบับให้ถูกต้องว่าเป็นแบบไหน

สามารถสรุปได้ว่า งานแปลวรรณกรรมนั้นมีถึง 9 ประเภทด้วยกันได้แก่ หลักการแปลนวนิยาย หลักการแปลบทบรรยาย หลักการแปลวรรณกรรม หลักการแปลบทละคร หลักการแปลเรื่องเล่า หลักการแปลบทภาพยนตร์ หลักการแปลการ์ตูน หลักการแปลกวีนิพนธ์ หลักการแปลนิทาน  หรืออาจจะมีมากกว่านี้อีก ซึ่งทุกหลักการแปลทุกประเภทจะมีลักษณะคล้ายกันคือ จะต้องอ่านหลายๆครั้งโดยอ่านให้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร ทำไม และค้นหาความหมายจากหลายแหล่งข้อมูล พร้อมทั้งเลือกใช้ภาษาให้ถูกต้องตามจุดประสงค์ของงานแต่ละงานเขียน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น