วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง


หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง      
                               
      หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงโดยย่อ(Transcription) ของราชบัณฑิตยสถาน เพื่อให้อ่านคำภาษาไทยที่เขียนด้วยอักษรโรมัน ให้ได้เสียงใกล้เคียง  โดยไม่คำนึงถึงการสะกดการันต์และวรรณยุกต์   เพื่อนำมาใช้และเป็นคู่มือในการสะกดชื่อบุคคล และชื่อภูมิศาสตร์ ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ราชบัณฑิตยสถานกำหนด
   หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันนี้ เป็นการถอดโดยวิธีถ่ายเสียง (Transcription) เพื่อให้อ่านคำภาษาไทย ที่เขียนด้วยอักษรโรมัน ให้ได้เสียงใกล้เคียง โดยไม่คำนึงถึงการสะกด การันต์ และวรรณยุกต์ช่น จันทร์ = chan, พระ = phra, แก้ว = kaeo มีการ เทียบเสียงพยัญชนะและทียบเสียงสระ













   หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงมีความจำเป็นอย่างมากต่องานแปลที่ดีนั้นจะถือว่าเป็นการแปลที่มีความหมายใกล้เคียงกับงานต้นฉบับมากที่สุดหากมีการถ่ายทอดตัวอักษรผิดสักคำหนึ่งความหมายของคำนั้นหรือการแปลชิ้นนั้นมีความหมายผิด


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น