วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

หลักการแปลวรรณกรรม



หลักการแปลวรรณกรรม

หลักการแปลวรรณกรรมคำว่าวรรณกรรมหมายถึงหนังสือที่แต่งขึ้นด้วยความคิดสร้างสรรค์ไม่ว่าจะใช้วิธีลดแก้มหรือร้อยกรองไม่ว่าจะเป็นผลงานของกวีหรือปัจจุบันซึ่งคุณจะรวมถึงสิ่งที่เราเรียกว่าวรรณคดีตามปกติวรรณกรรมเป็นงานเขียนที่จัดไว้ในประเภทบันเทิงคดีงานแปลบันเทิงคดีที่จะนำมากล่าวถึงในที่นี้คืองานแปลนวนิยายเรื่องสั้นนิยายบทละครการ์ตูนบทภาพยนตร์บทเพลงเป็นวรรณกรรมที่ผู้อ่านมุ่งหวังที่จะได้รับความบันเทิงเพลิดเพลินเป็นใหญ่ส่วนที่จะค้นหาความรู้ข้อมูลต่างๆนั้นเป็นจุดประสงค์รองลงมาการแปลวรรณกรรมสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการรักษาความหมายเดิมไว้ให้ครบถูกต้องไม่เปลี่ยนแปลงไม่กลายเป็นตรงกันข้ามรักษารถความหมายเดิมไว้เป็นรถเดียวกันเช่นรถรับเศร้าโศกข่มขื่นเบื่อหน่ายสงสัยและหวาดระแวงริษยาชื่นชมห่วงใยแทนใจซาบซึ้งในความดีสำนึกในบุญคุณความมีไมตรีความอ่อนโยนและต่างๆอีกมากมายการรักษาความหมายเดิมกับการรักษารถของความหมายเดิมเป็นหัวใจของการแปลงงานบันเทิงคดีผู้แปลต้องใช้ศิลปะที่ละเอียดลึกซึ้งเพราะงานแปลชิ้นเช่นนี้เช่นนี้เป็นงานศิลปะอย่างแท้จริง
หลักการแปลนวนิยายนวนิยาย
แปลเป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในทุกประเทศทุกกาลสมัยผู้แปลมีความสัมพันธ์แบบจะเท่ากับผู้แต่งในบางครั้งมีความสำคัญกว่าผู้ใหญ่อีกผู้แต่งอีกงานแปลประเภทนี้จึงมีความสำคัญมากในวงการการแปลคุณค่าของวรรณกรรมที่อยู่อยู่ที่ศิลปะในการใช้ภาษาของผู้แปลที่สามารถค้นหาถ้อยคำสำนวนสละสลวยไพเราะสอดคล้องกับต้นฉบับได้อย่างดี
1 การแปลชื่อเรื่องของวรรณกรรมชื่อเรื่องของหนังสือหรือภาพยนต์มีความสำคัญเป็นอันดับแรกเพราะผู้แต่งได้พิถีพิถันตั้งชื่องานของเขาอย่างดีที่สุด เพื่อบอกคุณลักษณะของงานเพื่อเร้าใจแก่ผู้อ่านเข้าชมให้ติดตามผลงานของเขาและเพื่อบอกผู้อ่านเป็นนัยๆว่าผู้เขียนต้องการสื่ออะไรต่อผู้อ่าน
การแปลชื่อเรื่องชื่อเรื่อง  หรือภาพยนต์สำคัญมากเท่ากับใบหน้าของคุณเราการตั้งชื่อของหนังสือหรือภาพยนตร์ลืมพิถีพิถันมากดังนั้นการแปลชื่อเรื่องต้องพิถีพิถันด้วยหลักการแปลชื่อเรื่องตามเรื่องที่นักแปลมืออาชีพปฏิบัติอยู่ทุกวันมี4แบบ
แบบที่ 1 ไม่แปลแต่ใช้ชื่อเดิมเขียนเป็นภาษาไทยด้วยวิธีถ่ายทอดเสียงหรือถ่ายทอดซ้ำตัวอักษร top ทับศัพท์ทางนี้ก็ต่อเมื่อผู้แปลพิจารณาเห็นว่าเป็นชื่อที่รู้จักดีแล้วและสามารถดึงดูดใจได้เพียงพอ
แบบที่ 2 แปลตรงตัวชื่อซึ่งฉบับมีความสมบูรณ์ครบถ้วนเหมาะสมก็จะใช้วิธีแปลตรงตัวโดยรักษาคำและความหมายไว้ด้วยภาษาไทยที่ดีและกระทัดรัด
แบบที่ 3 แปลบางส่วนดัดแปลงบางส่วนจะใช้วิธีนี้ต่อเมื่อชื่อในต้นฉบับอ้วนเกินไปไม่ดึงดูดและไม่สื่อความหมายเพียงพอ
แบบที่ 4 ตั้งชื่อใหม่โดยการตีความชื่อเรื่องและเนื้อเรื่องผู้แปลต้องใช้ความเข้าใจวิเคราะห์ชื่อเรื่องและเนื้อเรื่องจนสามารถจับประเด็นสำคัญและลักษณะเด่นของเรื่องและจุดประสงค์ของผู้เขียนเรื่องได้จึงจะสามารถตั้งชื่อใหม่ที่ดีได้
2 การแปลบทสนทนา
สิ่งที่เป็นปัญหายุ่งยากของการแปลนวนิยายคือบทสนทนาหรือถ้อยคำโต้ตอบของตัวละครซึ่งใช้ภาษาพูดหลายระดับแตกต่างกันตามสภาพตามสภาพสังคมของผู้พูดต้องแปลภาษาราชาศัพท์ภาษาสุภาพภาษาที่เป็นทางการภาษากันเองและบางครั้งก็เป็นภาษาพูดระดับตลาดซึ่งเต็มไปด้วยคำแสลงคำสบถคำโลกคำศัพท์หุ้นสั้นและอื่นๆที่ใช้กันตามความเป็นจริงถ้าผู้แปลไม่คุยกับภาษาระดับต่างๆก็ทำให้เข้าใจผิดได้
3 การแปลบทบรรยายเป็นข้อความที่เขียนเล่าเรื่องเหตุการณ์ซึ่งมักจะใช้ภาษาเขียนที่ขัดเกลาและแตกต่างกันหลายระดับก่อให้เกิดความยุ่งยากในการแปลเพื่อให้สวยพร้อมกับต้นฉบับเดิมอย่างไรก็ตามค่าวิเคราะห์การใช้ภาษาในบทบรรยายแล้วจะพบว่าความยุ่งยากเกิดจากภาษา 2 ประเภทคือภาษาในสังคมกับภาษาวรรณคดีดังนี้
ภาษาในสังคมนักภาษาศาสตร์ยอมรับว่าพฤติกรรมการใช้ภาษาของมนุษย์ในแต่ละสังคมนั้นจะต้องผ่านการฝึกฝนมาแล้วจึงเกิดความเคยชินภาษาของแต่ละสังคมบางครั้งก็ขายกันบางครั้งก็แตกต่างกันหรือตรงกันข้ามกันเช่นเรื่องตลกขบขันของสังคมหนึ่งอาจกลายเป็นเรื่องอับอายขายหน้าของอีก สังคมหนึ่ง
ไม่มีสังคมใดที่ทุกคนในสังคมพูดภาษาที่มีความหมายอย่างเดียวกันหมดความแตกต่างในการใช้ภาษามีสาเหตุสำคัญหลายประการซึ่งเกิดจากอาชีพของทุกๆวันที่กูพูดผู้พูดวัยเพศและสถานภาพทางสังคมภาษาเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าสังคมของผู้พูดมีลักษณะอย่างไรอยู่กระบี่หรืออีกนัยหนึ่งสังคมมีอิทธิพลต่อภาษาพูดการใช้ภาษาของบุคคลในสังคมก็เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเปลี่ยนตามสภาวะแวดล้อมคือผู้ฟังกาละเทศะและอารมณ์เช่นคำว่ากินในสภาวะแวดล้อมที่ประกอบไปด้วยผู้ใหญ่หรือผู้ไม่คุ้นเคยใช้คำว่ารับประทานลองชิมในสภาวะแวดล้อมที่ประกอบไปด้วยเด็กๆใช้คำว่าหม่ำ ในสภาวะแวดล้อมที่ประกอบไปด้วยผู้คนที่คุ้นเคยกันใช้คำว่า กิน จัดการในสภาวะแวดล้อมที่ประกอบไปด้วยผู้ที่มีฐานะต่ำในสังคมใช้คำว่าแดก ยัด นักภาษาศาสตร์อเมริกันผู้หนึ่งคือระบบเคยทำการวิจัยเกี่ยวกับภาษาของชุมชนต่างๆในนครนิวยอร์กสหรัฐอเมริกาได้สรุปสิ่งที่น่าสนใจว่าชนชั้นสูงมีฐานะทางอาชีพมั่นคงมักไม่ค่อยระวังการใช้ภาษาไม่สนใจว่าภาษาที่คุณใช้ถูกต้องหรือไม่ส่วนสำคัญรองลงมาหรือชนชั้นกลางมักจะใช้ภาษาอย่างระมัดระวังถูกต้องแต่ก็ยังไม่พอใจในภาษาพูดของคุณมีการเปลี่ยนแปลงภาษาที่สุดเสมอดังนั้นภาษาที่เปลี่ยนแปลงจึงมักมาจากชนชั้นกลางในสังคมลักษมีบุคคลเมื่อรวมกลุ่มกันแล้วก็เกิดความต้องการที่จะสร้างลักษณะเด่นเฉพาะกลุ่มพื้นที่หาด้วยคำใหม่ๆที่ไม่เหมือนคนอื่นมาใช้เกิดเป็นภาษาเฉพาะกลุ่มขึ้นภาษาจีนกินเป็นสิ่งที่คุณงามมัดระวังในการแปลความแตกต่างของภาษาจีนมีทั้งเรื่องของเสียงการใช้คำความหมายของคำการเรียงคําบางครั้งด้วยคำภาษาจีนก็ได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศที่ใกล้เคียงเช่นภาษาไทยในจังหวัดสุรินทร์ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาเขมรภาษาไทยในภาคใต้ได้รับอิทธิพลมาจากภาษามลายูเป็นต้นส่วนกรุงเทพได้รับอิทธิพลจากประเทศต่างๆที่ติดต่อสื่อสารการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีทั้งภาษาบาลีสันสกฤตอังกฤษฝรั่งเศสเป็นต้นดังนั้นในการแปลบางครั้งผู้แปลจึงจำเป็นต้องค้นคว้าสืบสาวไปจนถึงที่มาของคำให้ถ่องแท้ในก่อนมีฉันนั้นจะเข้าใจผิดได้ขอภาษาวรรณคดี mitsubishi language mitsubishi คือภาษาที่ใช้เขียนในวรรณกรรมประเภทต่างๆเช่น กวีนิพนธ์ นวนิยาย บทละคร ความเรียง หรือข้อความในโอกาสที่ต้องการความไพเราะ สละสลวย ที่ภาษาที่ถูกต้องสมบูรณ์ตามความหมายไวยากรณ์และความไพเราะภาษาแบบนี้ไม่มียังใช้วิชาการในชีวิตประจำวันและนิยมใช้กันในการเขียนที่ไพเราะเพราะพริ้งเท่านั้นภาษาระดับนี้คำนึงถึงลีลาการเขียนตายที่เป็นลักษณะเฉพาะของผู้เขียนประกอบด้วยการเล่นความหมายของคำเสียงของคำการเปรียบเทียบเพื่อสร้างมโนภาพและเร้าอารมณ์การใช้สำนวนคมคายการใช้สำนวนทำนองสุภาษิตเป็นต้น
ขั้นตอนในการแปลวรรณกรรมควรปฏิบัติดังนี้ 1 อ่านเรื่องราวให้เข้าใจโดยตลอดสามารถจับใจความสำคัญของเรื่องที่จะไปได้ข้อความแนวเรื่องจับประเด็นของเรื่องทำแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครสำคัญในเรื่องและพฤติกรรมที่มีความหมายมีความเร็วใยกันและอื่นๆอีกมากมาย 2 วิเคราะห์ให้คำสำนวนค้นหาความหมายของคำศัพท์ที่ไม่เคยรู้จักควรหาความกระจ่างของข้อความที่ไม่เข้าใจค้นหาความแตกต่างด้านวัฒนธรรม 3 ลงมือแปลเป็นภาษาไทยด้วยลงมือแปลเป็นภาษาไทยด้วยถ้อยคำสำนวนที่เรียบง่ายอ่านเข้าใจง่ายและชัดเจนโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นภาษาที่เป็นธรรมชาติหลักการแปลบทละครบทละครคือวรรณกรรมการแสดงว่าไม่มีดนตรีหรือบทร้องประกอบเรียกว่าละครพูดถ้ามีดนตรีบทร้องเป็นส่วนสำคัญก็เรียกทั่วไปว่าละครร้องละครรำละครไทยมีชื่อเรียกมากมายเช่นละครชาติชาตรีลิเกอื่นๆบทละครที่จะกล่าวถึงในที่นี้ซึ่งเกี่ยวกับการแปลสมัครถึงละครจบในที่นี้จะหมายถึงละครโศกละครชวนขัน comedy เพชรอิทธิละคร             โอเปร่าส่วนใหญ่เป็นบทเจรจาหรือพูดซึ่งตัวละครบนเวทีจะต้องเปล่งเสียงอย่างชัดเจนเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งและติดตามเรื่องราวได้ถูกต้องบทพูดเป็นสื่อสำคัญของการดำเนินเรื่องให้ต่อเนื่องกันการเขียนบทละครที่ดีบทพูดจะไม่ยืดยาวและจะประกอบด้วยถ้อยคำที่กะทัดรัดชัดเจนขณะที่ตัวละครพูดจากันผู้เขียนบทจะเขียนบอกผู้แสดงให้แสดงกิริยาท่าทางต่างๆด้วยเช่นร้องไห้หัวเราะเบาเบาๆหอบหวาดกลัวเป็นต้นบางครั้งจะบอกผู้แสดงที่ไม่ได้อยู่หน้าเวทีเช่นเสียงเดินมาเปิดประตูเสียงทะเลาะเสียงปืนเป็นต้นผู้แปลมักจะแตกการบอกบทเช่นนี้ไว้ในวงเล็บบทบรรยายของละครเป็นคำบรรยายฉากสถานที่เวลาและปรากฏตัวของตัวละครส่วนมากจะบรรยายก่อนเปิดม่านวิธีแปลบทละครดำเนินการไปเช่นเดียวกับการแปลเรื่องสั้น นวนิยายนิทาน นิยายคือเรื่องเรื่องด้วยการอ่านสั้นฉบับเพื่อทำความเข้าใจให้ตลอดตั้งแต่ต้นจนจบหาความหมายและคำแปลแล้วจึงเขียนบทแปลด้วยภาษาที่เหมาะสม
การอ่านต้นฉบับบทละคร
อ่านหลายครั้งอ่านครั้งแรกเพื่อทำความเข้าใจเนื้อเรื่องอย่างคร่าวๆตรวจสอบความเข้าใจด้วยการตั้งคำถามใครทำอะไรที่ไหนเมื่อไหร่อย่างไรอ่านครั้งต่อไปเพื่อค้นหาความหมายของคำและวลีที่ไม่รู้จักโดยใช้พจนานุกรมช่วยในหาความรู้รอบตัวเพิ่มเติมเกี่ยวกับต้นฉบับ
หลักการแปลภาพยนตร์
ภาพยนตร์จากต่างประเทศที่ใช้ในโรงหนังเมเจอร์โทรทัศน์ภาพและบทเป็นภาษาไทยหรือพากย์ไทยแล้วจะอำนวยประโยชน์และความบันเทิงให้แก่ผู้ชมมากเลยทีเดียวบทภาพยนตร์ที่นำมาแปรจะถ่ายให้เป็นบทเรียนก่อนนอกจากบางครั้งให้อยู่บนเตียงผู้ป่วยต้องดูและความจากฟรีจุดประสงค์หลักของบทภาพยนตร์แปลมี 2 ประการคือ1 นำบทแปลไปพากย์ 2 นำบทแปลไปเขียนบรรยาย
หลักการแปลนิทานนิยายนิยาย
นิทานเรื่องเล่าเป็นสิ่งที่มีมาแต่โบราณไม่ใช้ตัวอักษรสื่อสารกันคนโบราณถือกันด้วยการบอกเล่าด้วยวาจาคือการอ่านต้นฉบับการเขียนบทแปล
หลักการแปลเรื่องเล่าเรื่องเล่าสั้นๆมีอารมณ์ขันมักจะปรากฏตามหนังสือพิมพ์นิตยสารผู้อ่านต้องเข้าใจของอารมณ์ขันและเมื่อนำมาแปรถ่ายทอดให้ตรงตามต้นฉบับเรื่องเล่ามักจะใช้ถ้อยคำกะทัดรัดไม่มีความกำกวมการอ่านต้นฉบับให้เข้าใจและเขียนบทแรกคือต้องอ่านต้นฉบับเรื่องเล่าต่อมาการเขียนบทแปลการเขียนเขียนบทแปลการใช้ภาษาเป็นภาษาระดับกลางมีความกำกวมมีอารมณ์ขันผู้แปลต้องหาข้อความที่ฟังดูน่าขัน
หลักการแปลการ์ตูนหลักการสำคัญในการแปลคือการใช้คำแปลซี่ซั่นชัดเจนเข้าใจง่ายสื่อความหมายได้สามารถจำกัดจำนวนคำให้อยู่ภายในกรอบคำพูดได้ภาษาในบทสนทนาบทสนทนามีหลายระดับขึ้นอยู่กับตัวละครที่สร้างขึ้นซึ่งผู้แปลต้องใช้ความสังเกตและระมัดระวังการใช้ภาษาให้มีความสอดคล้องกัน
หลักการแปลกวีนิพนธ์เป็นวรรณกรรมที่แต่งเป็นร้อยกรองมีกฎเกณฑ์แน่นอนตายตัวจำกัดจำนวนคำพยางค์บรรทัดเสียงหนักเบาสัมผัสจังหวะจุดมุ่งหมายของกวีนิพนธ์เพื่อให้ความรู้สอนศิลธรรมขณะเดียวกันก็ให้ความบันเทิงเพลิดเพลิน



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น