วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

โครงสร้างพื้นฐาน



โครงสร้างพื้นฐาน


                หลักการที่สำคัญคือต้องให้ได้ใจความของประโยคที่แปล โดยไม่ผิดไปจากความหมายเดิม ไม่จำเป็นต้องรักษาทุก ๆ คำ การแปลคำต่อคำ มิใช่เป็นการแปลที่ถูกต้อง แถมอาจจะสื่อความหมายที่ผิดไปจากข้อความต้นฉบับไปเลยก็ได้เพราะฉะนั้น ผู้แปล ที่ดีต้องรู้จักโครงสร้างของประโยคในภาษาทั้งสองที่ทำการแปลสำหรับภาษาที่มีภาคประธานและภาคแสดง (subject-predicate) เป็นลักษณะเด่นของภาษาอังกฤษก็ว่าได้ เพื่อให้การแปลภาษาไทยเป็นอังกฤษง่ายขึ้น ควรต้องเข้าใจรูปแบบประโยคในภาษาอังกฤษเสียก่อน

ประโยคในภาษาอังกฤษไม่ว่าจะมีซับซ้อนอย่างไรสามารถกระจายออกเป็นรูปโครงสร้างพื้นฐานจับกังก็คือประโยคต่างมาจากประโยคพื้นฐานที่เรียกว่า basic sentence บางคนเรียกว่า Kernel sentence  อย่างไรก็ตามประโยคซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐานหมายถึงประโยคที่ประกอบด้วยตัวลุ่นๆ  มีคำน้อยใช้คำเฉพาะแต่ที่จำเป็นในแต่ละแบบใครมีใจความสมบูรณ์ถูกต้องตามหลักภาษาสื่อความหมายตรงไปตรงมา แต่อาจจะขาดความไพเราะ  ไม่สละสลวย  ไม่ได้รสชาติหรือรายละเอียดโครงการตั้งใจของผู้เป็นประโยค เมื่อนำคำวลี หรือข้อความที่เหมาะสมประกอบในตำแหน่งที่ถูกต้องแล้วจึงจะได้ความสละสลวยอยู่ซับซ้อนตามความประสงค์ของผู้แต่ง           ในการแปลประโยคที่ซับซ้อนหรือที่เรียกว่าประโยคโครงสร้างลึก              นั้นถ้าแยกข้อความออกเป็นหน่วยประโยคที่ตั้งอยู่ในที่สุดตามลักษณะของประโยคโครงสร้างพื้นฐานแต่ละแบบแล้ว    จะช่วยให้การวิเคราะห์ความหมายของประโยคได้ดีขึ้น   คณะได้แยกประโยคพื้นฐานไว้ 25 แบบเรียกว่ากระสวนหรือแบบของคำกริยา

แบบของคำกริยาของฮอร์นบี
ฮอร์นบีแบ่งแบบของคำกริยาออกเป็น 25 แบบดั้งนี้
VP 1...Vb +Direct Object
VP 2...Vb+(not)  to +Infinitive,  etc.
 VP 3...Vb +Noun or Pronoun(not) + to Infinitive,  etc.
 VP 4...Vb +Noun or Pronoun+(to be)  +Complement
 VP 5...Vb +Noun or Pronoun +Infinitive,  etc.
 VP 6...Vb+ Noun or Pronoun +Present Participle
VP 7...Vb +Object Adjective
VP 8....Vb +Object +Noun
VP 9...Vb +Object +Past Participle
VP 10...Vb Object Adverb or Adverbial rase,  etc.
  VP 11...Vb +that-clause
 VP 12...Vb+ Noun or Pronoun+ that-clause
 VP 13...Vb + Conjunctive +to+ Infinitive,  etc.
VP 14.  Vb +Noun or Pronoun +Conjunctive +to+ Infinitive etc.
VP 15.  Vb +Conjunctive+ Clause
 VP 16 Vb+Noun or Pronoun +Conjunctive +Clause
VP 17.  Vb +Gerund,  etc. 
VP 18...vb +Direct object+ Preposition+ Prepositional +object
 VP 19...Vb+ Indirect Object + Direct.  Object
VP 20.  vb +(for) + Complement of Distance,  Time.  Price,  etc. 
VP 21Vb +alone
 22...Vb +Predicative
VP 23.  Vo + Adverbial Adjunct
VP 24...Vb + Preposition +Prepositional Object
VP 25... vb + to + Infinitive

การแปลภาษาหนึ่งไปอีกภาษาหนึ่งนั้นถ้าผู้ใดมีความสามารถมีความรู้ดีทั้งสองภาษาการตีความและวิเคราะห์ความหมายของประโยคจะทำได้อย่างรวดเร็วเพียงแต่คิดในใจสำหรับผู้ที่ยังไม่ค่อยชำนาญการแยกประโยคที่ซับซ้อนเป็นประโยคพื้นฐานจะช่วยได้มากเลย
เมื่อสรุปที่สำคัญๆ แล้วจะเห็นได้ว่า โครงสร้างพื้นฐานของประโยคในภาษาอังกฤษมี 25 แบบ ซึ่งควรที่จะจดจำให้แม่นยำ เพราะจะช่วยให้สามารถวิเคราะห์โครงสร้างของประโยคต่าง ๆได้ง่ายขึ้น


กระบวนการแปล Process of Translating


กระบวนการแปล Process of Translating

                ในยุคปัจจุบันนี้ มนุษยโลกได้ปฏิรูปเข้ายุคข้อมูลข่าวสารไร้แนวพรมแดนหรือยุคดิจิทัล ซึ่งเป็นเหตุให้การเคลื่อนพลวัตรข้างในโลกขับเคลื่อนและเปลี่ยนถ่ายไปอย่างทันทีแบบที่ไม่เคยมีมาก่อน เช่นการสื่อสารในช่วงเวลานี้ที่ต้องมีภาษากลางในการสื่อสารกับชาวต่างชาติ อย่างไรก็ตาม ภาษาเหล่านี้ยิ่งเพิ่มจุดสำคัญทั้งในแนวกลุ่มและเศรษฐกิจในทุกมิติ เพื่อจำต้องใช้ภาษาในการติดต่อประสานงานอยู่เป็นประจำและขยายความเข้าใจด้านมากมาย ให้มีประสิทธิภาพเต็มที่ยิ่งขึ้น
ถ้าทุกๆคนมีความรู้และความเข้าใจด้านภาษาเหล่านี้แล้ว ย่อมจะเกิดผลดีต่อตนเอง หน่วยงาน และองค์กรต่างๆ ซึ่งจะทำให้เกิดความทันสมัยและต่อยอดองค์ความรู้ให้สูงขึ้น โดยเฉพาะภาษาต่างประเทศที่สำคัญ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ฯลฯ ซึ่งสมมุติมีความเชี่ยวชาญในการแปลภาษาเหล่านี้โดยตรง ไม่ได้แปลผ่านภาษาอื่นก็จะเป็นประโยชน์อย่างมากมาย ทั้งนี้เพราะสามารถได้รับข้อมูลอย่างละเอียดลึกซึ้ง ด้วยเหตุที่ธรรมเนียมแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน ภาษาที่ใช้จึงมีเกณฑ์แบบแผนที่แตกต่างกันไปด้วย
อาทิเช่น บางศัพท์ของภาษาอังกฤษไม่สามารถแปลมาเป็นภาษาไทยโดยเจาะจง มากกว่านั้นอาจจะไม่มีคำศัพท์ที่แปลความหมายคำนั้นได้ จึงต้องใช้ภาษาอังกฤษทับคำศัพท์ภาษาไทยหรือบัญญัติศัพท์ใหม่ๆ ขึ้นมาใช้ เช่นนี้ถ้าผู้แปลทราบข้อมูลไปถึงเบื้องลึกของภาษาหรือศัพท์นั้นๆ ว่ามีรากศัพท์หรือมีแหล่งที่มาจากไหน ก็จะเป็นเหตุให้บังเกิดความเข้าใจในภาษากลุ่มนี้เพิ่มมากขึ้น ด้วยสาเหตุนี้การแปลภาษาที่ประณีตจึงควรมีการแปลที่สละสลวย เที่ยงตรง และชัดเจน เพราะว่าทราบถึงบริบททางภาษาอย่างถ่องแท้ เพื่อให้คำแปลเป็นไปอย่างแม่นยำ ไม่ผิดเพี้ยน หรืออ่านแล้วราบรื่นตามสำนวนภาษาที่งามยิ่ง
ยิ่งไปกว่านี้ ล่ามภาษายังมีความสำคัญในฐานะมืออาชีพด้านภาษาที่จะจำต้องอาศัยประสบการณ์ การเข้าถึงธรรมเนียมของประเทศนั้นๆ ประกอบกับการแปลภาษาได้อย่างรอบคอบ ซึ่งจะทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน โดยล่ามที่ดีจะควรมีชั่วโมงบินทางภาษาสูง การสนทนาที่ฉาดฉาน และสามารถอธิบายความหมายได้อย่างช่ำชอง ฉะนั้นล่ามภาษาจึงมีเหตุจำเป็นในการติดต่องานและการเดินทาง ที่จะเป็นคนช่วยในธุรกิจด้านภาษาต่างๆ เพื่อให้ประสบผลและลุตามที่หมายยิ่งขึ้น
ภาษาจึงเป็นอีกตัวกลางหนึ่งที่สำคัญ ที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจต่อคนต่างแดน ยิ่งไปกว่านี้องค์ความรู้ต่างๆ ยังได้รับการแปลมาเป็นอีกภาษาหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นความรอบรู้ใหม่ๆ ที่ไม่เคยได้รับการแปลมาก่อน คนทั่วไปก็สามารถนำความรู้เหล่านั้นไปปรับปรุงตนเอง แวดวง และแว่นแคว้นให้ก้าวหน้า เนื่องมาจากในสมัยปัจจุบันการขายความรู้เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการบูรณาการและการก้าวหน้าในด้านต่างๆ โดยมีการติดต่อดูงานในต่างบ้านต่างเมืองอย่างต่อเนื่อง ฉะนั้นจึงต้องมีขั้นเทพในการแปลภาษา รวมไปถึงมีศิลป์ในการใช้ถ้อยคำหรือวาทศิลป์ ซึ่งเป็นเหตุให้ภาษาที่แปลนั้น เว้นแต่จะได้ข้อมูลที่ครบถ้วนบริบูรณ์แล้วยังจะได้คำแปลที่น่าอ่าน ไพเราะ ชื่นชอบ และมีคุณภาพ
                ดังนั้นจะมีรูปแบบกระบวนการแปร ( of the Translation Process )งานแปลในยุคโบราณเป็นการไปทางศาสนาอาทิคัมภีร์ต่างๆและการแปลวรรณกรรมด้วยภาษาอังกฤษงานเช่นการแสดงงานของเชคสเปียร์ออกเป็นภาษาอังกฤษต่างๆเช่นภาษาไทยได้แก่งานแปลซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์จักรีเช่นเวนิสวานิชเป็นต้นเห็นได้ว่านายเป็นในยุคโบราณนั้นเป็นงานของเสริมส้นสูงๆและเป็นผลงานของผู้มีความสามารถพิเศษในยุคต่อมามีความต้องการงานแต่ในด้านการค้าการติดต่อต่างๆซึ่งมีปริมาณสูงมากจนงานแปลเป็นผลงานของชนชั้นสามัญทั่วไปดังนั้นจึงมีความคิดค้นหาวิธีการที่จะทำงานแปลที่มีคุณภาพและเป็นวิธีที่คนทั่วไปนำเอาไปปฏิบัติได้นักวิชาการด้านการแปลได้ศึกษาวิธีที่นักสายอาชีพสายและนำมาจัดเป็นขั้นตอนที่รักแบมือใหม่จะได้ทำตามเรียกว่ากระบวนการแปล translation process 

5 ขั้นตอนลัด ♫ ฟัง"เพลงไทย" ก็เก่ง "ภาษาอังกฤษ" ได้ ♫



5 ขั้นตอนลัด ♫ ฟัง"เพลงไทย" ก็เก่ง "ภาษาอังกฤษ" ได้ ♫






เทคนิคการเรียนภาษาจากครูคริส


เทคนิคการเรียนภาษาจากครูคริส



ภาษาไทยที่เป็นธรรมชาติ


ภาษาไทยที่เป็นธรรมชาติ

มนุษย์แต่ละชาติแต่ละกลุ่ม หรือแต่ละเผ่าจะมีการกำหนดเสียงที่ใช้สื่อสารกัน เพื่อสื่อความหมายเป็นภาษา ภาษาจึงเป็นสิ่งที่สังคมร่วมกันกำหนดขึ้น ที่จะให้เสียงใดมีความหมายอย่างใด ด้วยเหตุนี้ เสียงในภาษาแต่ละภาษาจึงต่างกัน เช่น เสียงในภาษาไทย ประกอบด้วย เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ ขณะที่ในภาษาอังกฤษจะไม่มีเสียงวรรณยุกต์ เป็นต้น

ความหมายของภาษา คำว่า ภาษาเป็นคำภาษาสันสฤต แปลตามรูปศัพท์หมายถึงคำพูดหรือถ้อยคำ ภาษาเป็นเครื่องมือของมนุษย์ที่ใช้ในการสื่อความหมายให้สามารถสื่อสารติดต่อทำความเข้าใจกันโดยมีระเบียบของคำและเสียงเป็นเครื่องกำหนด ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ให้ความหมายของคำว่าภาษา คือ เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้ คำพูดถ้อยคำที่ใช้พูดจากันภาษาเป็นเครื่องหมายที่มนุษย์กำหนดขึ้นมาอย่างมีระบบเพื่อใช้ติดต่อสื่อสารกันในแต่ละกลุ่ม แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ

๑. วัจนภาษา ภาษาที่เป็นถ้อยคำสำหรับใช้สื่อสารทั้งที่เป็นคำพูดหรือเป็นตัวหนังสือ
๒. อวัจนภาษา ภาษาที่ไม่เป็นถ้อยคำ เป็นการสื่อสารกันโดยใช้กิริยาท่าทางหรือเครื่องหมายสัญลักษณ์ต่างๆ
การเขียนบทแปลที่ดีต้องเขียนด้วยภาษาที่เป็นธรรมชาติซึ่งหมายถึงภาษาเขียนภาษาพูดที่คนไทยทั่วไปใช้กันจริงในสังคมไทยทั้งนี้เพื่อให้คนไทยผู้อ่านผู้ใช้สามารถเข้าใจได้ทันทีไม่มีอุปสรรคในการรับสารองค์ประกอบที่นักแปลต้องพิจารณาในการเขียนบทแปลด้วยภาษาที่เป็นธรรมชาติได้แก่องค์ประกอบย่อยของการแปลคือคำความหมายการสร้างคำและสำนวนโวหารดังนี้

คำความหมายและการสร้างคำ
คำและความหมายคำบางคำมีความหมายแตกต่างกันหลายอย่างมีทั้งความหมายตรงและความหมายแฝงหรือความหมายเชิงเปรียบเทียบคำบางคำมีความหมายต่างกันไปตามยุคสมัยเช่นในสมัยก่อนก่อนมีความหมายอย่างหนึ่งแต่ปัจจุบันแตกต่างกันบางครั้งก็ตรงกันข้ามกันบางครั้งก็มีความหมายไปในทางที่ดีบางครั้งก็มีความหมายในทางที่ไม่ดี

สำนวนโวหาร
ในการไปขั้นสูงผู้แปลต้องรู้จักสำนวนการเขียนและการใช้โวหารหลายๆแบบมิฉะนั้นจะทำให้เข้าใจความหมายไม่ชัดเจนบางครั้งอาจทำให้เข้าใจผิดหรือตรงกันข้ามกันการอ่านมากจะทำให้คุ้นเคยกับสำนวนโวหารแบบต่างๆในวรรณกรรมชั้นดีของผู้เขียนมักจะใช้สำนวนโวหารแปลกๆซับซ้อนเพื่อให้ผู้อ่านเกิดความบันเทิงแต่ถ้าผัวไม่เข้าใจก็จะไม่มีความสุขในการอ่าน

โวหารภาพพจน์
โวหารที่นักแปลจำเป็นต้องทำความเข้าใจให้ถ่องแท้คือโวหารภาพพจน์ทั้งนี้เพราะนักเขียนหรือกวีมักจะสร้างภาพพจน์อย่างกว้างขวางสลับซับซ้อนถ้าผู้อ่านมีประสบการณ์น้อยก็จะตามไม่ทันและไม่เข้าใจบางครั้งก็บอกว่ากวีนั้นโง่บางครั้งกวีโบราณสร้างภาพพจน์ถึงสิ่งที่ในปัจจุบันไม่มีอีกแล้วนะอ่านบางคนไม่รู้จักก็คิดว่ากวีบิดเบือนความจริงเพื่อป้องกันการไม่เข้าใจสิ่งเหล่านี้ผู้อ่านควรวางใจเป็นกลางศึกษาแนวคิดและการใช้โวหารภาพพจน์ซึ่งผู้เขียนทั้งเก่าใหม่ทุกชาติทุกภาษาได้ใช้ร่วมกันดังนี้
 1 โวหารอุปมา Simele คือการสร้างภาพพจน์ด้วยการเปรียบเทียบโดยมีจุดมุ่งหมายชี้แจงอธิบายพูดพาดพิงถึงให้เสริมให้งดงามการเปรียบเทียบแบบนี้มักจะใช้คำเชื่อม
 2 โวหารอุปลักษณ์ metaphor คือการเปรียบเทียบความหมายโดยนำความเหมือนและไม่เหมือนของสิ่งที่จะเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบแบบนี้แสดงความเก่งของกวีเพราะกวีจะเลี่ยงการใช้คำพื้นๆไปสู่คำใหม่ที่น่าตื่นเต้นและเร้าใจ
3 โวหารเย้ยหยัน Irony การใช้คำด้วยอารมณ์ขันเพื่อยั่วล้อเยอะอย่าเหน็บแนมหรือชี้ให้เห็นข้อบกพร่องและความไม่ฉลาดของสิ่งที่ต้องการกล่าวถึงบัวผันเช่นนี้พูดเก่งมักจะแสร้งทำเป็นโง่ดังนั้นความที่หมายที่แท้จริงคือฉลาดนั่นเองมักจะเป็นถ้อยคำถากถางแดกดันและขบขันนักเลงนักปราชญ์กรีกผู้หนึ่งคือโซคราติสได้ริเริ่มการถากตัวเองและหัวเราะเยาะ จุดอ่อนของตัวเองดังนั้นวิธีพูดหรือเขียนโดยยกตัวเองเป็นเป้าล่อจึงเรียกว่าโวหารเย้ยหยันแบบโซคราติส
4 โวหารขัดแย้ง Contrast คือการใช้คำที่มีความหมายตรงข้ามกันมาเรียงต่อกันโดยรักษาสมดุลไว้โวหารขัดแย้งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า paradox เป็นการกล่าวโดยขัดแย้งกับความจริงหรือความเชื่อและความคิดเห็นของบุคคลทั่วไปเป็นคำกล่าวที่ดูเหมือนจะขัดกันเองแต่ถ้าพิจารณาให้ดีแล้วจะเป็นความจริง
 5 โวหารที่ใช้ส่วนหนึ่งแทนทั้งหมด Metonymy ได้แก่การนำคุณสมบัติเด่นๆของสิ่งใดสิ่งหนึ่งมาใช้แทนที่จะเอ่ยนามสิ่งนั้นออกมาตรงตรงรวมทั้งส่วนประกอบของสิ่งของและของใช้ประจำบุคคลโดยไม่กล่าวชื่อของสิ่งของหรือบุคคลนั้นๆ
6 โวหารบุคคลาธิษฐาน Personification  คือการนำสิ่งต่างๆที่ไม่มีชีวิตรวมทั้งความคิดการกระทำและนามธรรมเปิดตื่นมากล่าวเหมือนเป็นบุคคลการใช้บุคคลาธิษฐานนี้นับเป็นส่วนหนึ่งของโวหารMetaphor
7โวหารที่กล่าวเกินความจริง Hyperboleโวหารเช่นนี้มีจุดประสงค์ที่จะเน้นให้เห็นความสำคัญทีให้ชัดเจนและเด่นและใช้เพื่อแสดงอารมณ์ที่รุนแรง
ลักษณะที่ดีของสำนวนโวหารมักจะประกอบไปด้วยดังต่อไปนี้
1 ถูกหลักภาษาคือไม่ขัดกับหลักไวยากรณ์
2 ไม่กำกวมคือสำนวนโวหารที่ดีจะต้องชัดเจนแม่นตรง
3 มีชีวิตชีวาคือไม่แนบนาบชวนอ่านแต่มีชีวิตชีวาเร้าใจชวน
4 สมเหตุสมผลคือน่าเชื่อถือมีเหตุผลรอบคอบไม่มีอคติไม่สร้างความหลงผิดให้แก่ผู้อ่านน่าเชื่อถือ
ภาษาไทยที่เป็นธรรมชาติมีความสำคัญมากเพราะภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์ มนุษย์ติดต่อกันได้ เข้าใจกันได้ก็ด้วยอาศัยภาษาเป็นเครื่องช่วยที่ดีที่สุด ภาษาเป็นสิ่งช่วยยึดให้มนุษย์มีความผูกพันต่อกัน เนื่องจากแต่ละภาษาต่างก็มีระเบียบแบบแผนของตน ซึ่งเป็นที่ตกลงกันในแต่ละชาติแต่ละกลุ่มชน การพูดภาษาเดียวกันจึงเป็นสิ่งที่ทำให้คนรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน มีความผูกพันต่อกันในฐานะที่เป็นชาติเดียวกัน ภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์ และเป็นเครื่องแสดงให้เห็นวัฒนธรรมส่วนอื่นๆของมนุษย์ด้วย เราจึงสามารถศึกษาวัฒนธรรมตลอดจนเอกลักษณ์ของชนชาติต่างๆได้จากศึกษาภาษาของชนชาตินั้นๆ ภาษาศาสตร์มีระบบกฎเกณฑ์ ผู้ใช้ภาษาต้องรักษากฎเกณฑ์ในภาษาไว้ด้วยอย่างไรก็ตาม กฎเกณฑ์ในภาษานั้นไม่ตายตัวเหมือนกฎวิทยาศาสตร์ แต่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติของภาษา เพราะเป็นสิ่งที่มนุษย์ตั้งขึ้น จึงเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยตามความเห็นชอบของส่วนรวม

ภาษาเป็นศิลปะ มีความงดงามในกระบวนการใช้ภาษา กระบวนการใช้ภาษานั้น มีระดับและลีลา ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆหลายด้าน เช่น บุคคล กาลเทศะ ประเภทของเรื่องฯลฯ การที่จะเข้าใจภาษา และใช้ภาษาได้ดีจะต้องมีความสนใจศึกษาสังเกตให้เข้าถึงรสของภาษาด้วย

หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง


หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง      
                               
      หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงโดยย่อ(Transcription) ของราชบัณฑิตยสถาน เพื่อให้อ่านคำภาษาไทยที่เขียนด้วยอักษรโรมัน ให้ได้เสียงใกล้เคียง  โดยไม่คำนึงถึงการสะกดการันต์และวรรณยุกต์   เพื่อนำมาใช้และเป็นคู่มือในการสะกดชื่อบุคคล และชื่อภูมิศาสตร์ ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ราชบัณฑิตยสถานกำหนด
   หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันนี้ เป็นการถอดโดยวิธีถ่ายเสียง (Transcription) เพื่อให้อ่านคำภาษาไทย ที่เขียนด้วยอักษรโรมัน ให้ได้เสียงใกล้เคียง โดยไม่คำนึงถึงการสะกด การันต์ และวรรณยุกต์ช่น จันทร์ = chan, พระ = phra, แก้ว = kaeo มีการ เทียบเสียงพยัญชนะและทียบเสียงสระ













   หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียงมีความจำเป็นอย่างมากต่องานแปลที่ดีนั้นจะถือว่าเป็นการแปลที่มีความหมายใกล้เคียงกับงานต้นฉบับมากที่สุดหากมีการถ่ายทอดตัวอักษรผิดสักคำหนึ่งความหมายของคำนั้นหรือการแปลชิ้นนั้นมีความหมายผิด


หลักการแปลวรรณกรรม



หลักการแปลวรรณกรรม

หลักการแปลวรรณกรรมคำว่าวรรณกรรมหมายถึงหนังสือที่แต่งขึ้นด้วยความคิดสร้างสรรค์ไม่ว่าจะใช้วิธีลดแก้มหรือร้อยกรองไม่ว่าจะเป็นผลงานของกวีหรือปัจจุบันซึ่งคุณจะรวมถึงสิ่งที่เราเรียกว่าวรรณคดีตามปกติวรรณกรรมเป็นงานเขียนที่จัดไว้ในประเภทบันเทิงคดีงานแปลบันเทิงคดีที่จะนำมากล่าวถึงในที่นี้คืองานแปลนวนิยายเรื่องสั้นนิยายบทละครการ์ตูนบทภาพยนตร์บทเพลงเป็นวรรณกรรมที่ผู้อ่านมุ่งหวังที่จะได้รับความบันเทิงเพลิดเพลินเป็นใหญ่ส่วนที่จะค้นหาความรู้ข้อมูลต่างๆนั้นเป็นจุดประสงค์รองลงมาการแปลวรรณกรรมสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการรักษาความหมายเดิมไว้ให้ครบถูกต้องไม่เปลี่ยนแปลงไม่กลายเป็นตรงกันข้ามรักษารถความหมายเดิมไว้เป็นรถเดียวกันเช่นรถรับเศร้าโศกข่มขื่นเบื่อหน่ายสงสัยและหวาดระแวงริษยาชื่นชมห่วงใยแทนใจซาบซึ้งในความดีสำนึกในบุญคุณความมีไมตรีความอ่อนโยนและต่างๆอีกมากมายการรักษาความหมายเดิมกับการรักษารถของความหมายเดิมเป็นหัวใจของการแปลงงานบันเทิงคดีผู้แปลต้องใช้ศิลปะที่ละเอียดลึกซึ้งเพราะงานแปลชิ้นเช่นนี้เช่นนี้เป็นงานศิลปะอย่างแท้จริง
หลักการแปลนวนิยายนวนิยาย
แปลเป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในทุกประเทศทุกกาลสมัยผู้แปลมีความสัมพันธ์แบบจะเท่ากับผู้แต่งในบางครั้งมีความสำคัญกว่าผู้ใหญ่อีกผู้แต่งอีกงานแปลประเภทนี้จึงมีความสำคัญมากในวงการการแปลคุณค่าของวรรณกรรมที่อยู่อยู่ที่ศิลปะในการใช้ภาษาของผู้แปลที่สามารถค้นหาถ้อยคำสำนวนสละสลวยไพเราะสอดคล้องกับต้นฉบับได้อย่างดี
1 การแปลชื่อเรื่องของวรรณกรรมชื่อเรื่องของหนังสือหรือภาพยนต์มีความสำคัญเป็นอันดับแรกเพราะผู้แต่งได้พิถีพิถันตั้งชื่องานของเขาอย่างดีที่สุด เพื่อบอกคุณลักษณะของงานเพื่อเร้าใจแก่ผู้อ่านเข้าชมให้ติดตามผลงานของเขาและเพื่อบอกผู้อ่านเป็นนัยๆว่าผู้เขียนต้องการสื่ออะไรต่อผู้อ่าน
การแปลชื่อเรื่องชื่อเรื่อง  หรือภาพยนต์สำคัญมากเท่ากับใบหน้าของคุณเราการตั้งชื่อของหนังสือหรือภาพยนตร์ลืมพิถีพิถันมากดังนั้นการแปลชื่อเรื่องต้องพิถีพิถันด้วยหลักการแปลชื่อเรื่องตามเรื่องที่นักแปลมืออาชีพปฏิบัติอยู่ทุกวันมี4แบบ
แบบที่ 1 ไม่แปลแต่ใช้ชื่อเดิมเขียนเป็นภาษาไทยด้วยวิธีถ่ายทอดเสียงหรือถ่ายทอดซ้ำตัวอักษร top ทับศัพท์ทางนี้ก็ต่อเมื่อผู้แปลพิจารณาเห็นว่าเป็นชื่อที่รู้จักดีแล้วและสามารถดึงดูดใจได้เพียงพอ
แบบที่ 2 แปลตรงตัวชื่อซึ่งฉบับมีความสมบูรณ์ครบถ้วนเหมาะสมก็จะใช้วิธีแปลตรงตัวโดยรักษาคำและความหมายไว้ด้วยภาษาไทยที่ดีและกระทัดรัด
แบบที่ 3 แปลบางส่วนดัดแปลงบางส่วนจะใช้วิธีนี้ต่อเมื่อชื่อในต้นฉบับอ้วนเกินไปไม่ดึงดูดและไม่สื่อความหมายเพียงพอ
แบบที่ 4 ตั้งชื่อใหม่โดยการตีความชื่อเรื่องและเนื้อเรื่องผู้แปลต้องใช้ความเข้าใจวิเคราะห์ชื่อเรื่องและเนื้อเรื่องจนสามารถจับประเด็นสำคัญและลักษณะเด่นของเรื่องและจุดประสงค์ของผู้เขียนเรื่องได้จึงจะสามารถตั้งชื่อใหม่ที่ดีได้
2 การแปลบทสนทนา
สิ่งที่เป็นปัญหายุ่งยากของการแปลนวนิยายคือบทสนทนาหรือถ้อยคำโต้ตอบของตัวละครซึ่งใช้ภาษาพูดหลายระดับแตกต่างกันตามสภาพตามสภาพสังคมของผู้พูดต้องแปลภาษาราชาศัพท์ภาษาสุภาพภาษาที่เป็นทางการภาษากันเองและบางครั้งก็เป็นภาษาพูดระดับตลาดซึ่งเต็มไปด้วยคำแสลงคำสบถคำโลกคำศัพท์หุ้นสั้นและอื่นๆที่ใช้กันตามความเป็นจริงถ้าผู้แปลไม่คุยกับภาษาระดับต่างๆก็ทำให้เข้าใจผิดได้
3 การแปลบทบรรยายเป็นข้อความที่เขียนเล่าเรื่องเหตุการณ์ซึ่งมักจะใช้ภาษาเขียนที่ขัดเกลาและแตกต่างกันหลายระดับก่อให้เกิดความยุ่งยากในการแปลเพื่อให้สวยพร้อมกับต้นฉบับเดิมอย่างไรก็ตามค่าวิเคราะห์การใช้ภาษาในบทบรรยายแล้วจะพบว่าความยุ่งยากเกิดจากภาษา 2 ประเภทคือภาษาในสังคมกับภาษาวรรณคดีดังนี้
ภาษาในสังคมนักภาษาศาสตร์ยอมรับว่าพฤติกรรมการใช้ภาษาของมนุษย์ในแต่ละสังคมนั้นจะต้องผ่านการฝึกฝนมาแล้วจึงเกิดความเคยชินภาษาของแต่ละสังคมบางครั้งก็ขายกันบางครั้งก็แตกต่างกันหรือตรงกันข้ามกันเช่นเรื่องตลกขบขันของสังคมหนึ่งอาจกลายเป็นเรื่องอับอายขายหน้าของอีก สังคมหนึ่ง
ไม่มีสังคมใดที่ทุกคนในสังคมพูดภาษาที่มีความหมายอย่างเดียวกันหมดความแตกต่างในการใช้ภาษามีสาเหตุสำคัญหลายประการซึ่งเกิดจากอาชีพของทุกๆวันที่กูพูดผู้พูดวัยเพศและสถานภาพทางสังคมภาษาเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าสังคมของผู้พูดมีลักษณะอย่างไรอยู่กระบี่หรืออีกนัยหนึ่งสังคมมีอิทธิพลต่อภาษาพูดการใช้ภาษาของบุคคลในสังคมก็เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเปลี่ยนตามสภาวะแวดล้อมคือผู้ฟังกาละเทศะและอารมณ์เช่นคำว่ากินในสภาวะแวดล้อมที่ประกอบไปด้วยผู้ใหญ่หรือผู้ไม่คุ้นเคยใช้คำว่ารับประทานลองชิมในสภาวะแวดล้อมที่ประกอบไปด้วยเด็กๆใช้คำว่าหม่ำ ในสภาวะแวดล้อมที่ประกอบไปด้วยผู้คนที่คุ้นเคยกันใช้คำว่า กิน จัดการในสภาวะแวดล้อมที่ประกอบไปด้วยผู้ที่มีฐานะต่ำในสังคมใช้คำว่าแดก ยัด นักภาษาศาสตร์อเมริกันผู้หนึ่งคือระบบเคยทำการวิจัยเกี่ยวกับภาษาของชุมชนต่างๆในนครนิวยอร์กสหรัฐอเมริกาได้สรุปสิ่งที่น่าสนใจว่าชนชั้นสูงมีฐานะทางอาชีพมั่นคงมักไม่ค่อยระวังการใช้ภาษาไม่สนใจว่าภาษาที่คุณใช้ถูกต้องหรือไม่ส่วนสำคัญรองลงมาหรือชนชั้นกลางมักจะใช้ภาษาอย่างระมัดระวังถูกต้องแต่ก็ยังไม่พอใจในภาษาพูดของคุณมีการเปลี่ยนแปลงภาษาที่สุดเสมอดังนั้นภาษาที่เปลี่ยนแปลงจึงมักมาจากชนชั้นกลางในสังคมลักษมีบุคคลเมื่อรวมกลุ่มกันแล้วก็เกิดความต้องการที่จะสร้างลักษณะเด่นเฉพาะกลุ่มพื้นที่หาด้วยคำใหม่ๆที่ไม่เหมือนคนอื่นมาใช้เกิดเป็นภาษาเฉพาะกลุ่มขึ้นภาษาจีนกินเป็นสิ่งที่คุณงามมัดระวังในการแปลความแตกต่างของภาษาจีนมีทั้งเรื่องของเสียงการใช้คำความหมายของคำการเรียงคําบางครั้งด้วยคำภาษาจีนก็ได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศที่ใกล้เคียงเช่นภาษาไทยในจังหวัดสุรินทร์ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาเขมรภาษาไทยในภาคใต้ได้รับอิทธิพลมาจากภาษามลายูเป็นต้นส่วนกรุงเทพได้รับอิทธิพลจากประเทศต่างๆที่ติดต่อสื่อสารการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีทั้งภาษาบาลีสันสกฤตอังกฤษฝรั่งเศสเป็นต้นดังนั้นในการแปลบางครั้งผู้แปลจึงจำเป็นต้องค้นคว้าสืบสาวไปจนถึงที่มาของคำให้ถ่องแท้ในก่อนมีฉันนั้นจะเข้าใจผิดได้ขอภาษาวรรณคดี mitsubishi language mitsubishi คือภาษาที่ใช้เขียนในวรรณกรรมประเภทต่างๆเช่น กวีนิพนธ์ นวนิยาย บทละคร ความเรียง หรือข้อความในโอกาสที่ต้องการความไพเราะ สละสลวย ที่ภาษาที่ถูกต้องสมบูรณ์ตามความหมายไวยากรณ์และความไพเราะภาษาแบบนี้ไม่มียังใช้วิชาการในชีวิตประจำวันและนิยมใช้กันในการเขียนที่ไพเราะเพราะพริ้งเท่านั้นภาษาระดับนี้คำนึงถึงลีลาการเขียนตายที่เป็นลักษณะเฉพาะของผู้เขียนประกอบด้วยการเล่นความหมายของคำเสียงของคำการเปรียบเทียบเพื่อสร้างมโนภาพและเร้าอารมณ์การใช้สำนวนคมคายการใช้สำนวนทำนองสุภาษิตเป็นต้น
ขั้นตอนในการแปลวรรณกรรมควรปฏิบัติดังนี้ 1 อ่านเรื่องราวให้เข้าใจโดยตลอดสามารถจับใจความสำคัญของเรื่องที่จะไปได้ข้อความแนวเรื่องจับประเด็นของเรื่องทำแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครสำคัญในเรื่องและพฤติกรรมที่มีความหมายมีความเร็วใยกันและอื่นๆอีกมากมาย 2 วิเคราะห์ให้คำสำนวนค้นหาความหมายของคำศัพท์ที่ไม่เคยรู้จักควรหาความกระจ่างของข้อความที่ไม่เข้าใจค้นหาความแตกต่างด้านวัฒนธรรม 3 ลงมือแปลเป็นภาษาไทยด้วยลงมือแปลเป็นภาษาไทยด้วยถ้อยคำสำนวนที่เรียบง่ายอ่านเข้าใจง่ายและชัดเจนโดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นภาษาที่เป็นธรรมชาติหลักการแปลบทละครบทละครคือวรรณกรรมการแสดงว่าไม่มีดนตรีหรือบทร้องประกอบเรียกว่าละครพูดถ้ามีดนตรีบทร้องเป็นส่วนสำคัญก็เรียกทั่วไปว่าละครร้องละครรำละครไทยมีชื่อเรียกมากมายเช่นละครชาติชาตรีลิเกอื่นๆบทละครที่จะกล่าวถึงในที่นี้ซึ่งเกี่ยวกับการแปลสมัครถึงละครจบในที่นี้จะหมายถึงละครโศกละครชวนขัน comedy เพชรอิทธิละคร             โอเปร่าส่วนใหญ่เป็นบทเจรจาหรือพูดซึ่งตัวละครบนเวทีจะต้องเปล่งเสียงอย่างชัดเจนเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งและติดตามเรื่องราวได้ถูกต้องบทพูดเป็นสื่อสำคัญของการดำเนินเรื่องให้ต่อเนื่องกันการเขียนบทละครที่ดีบทพูดจะไม่ยืดยาวและจะประกอบด้วยถ้อยคำที่กะทัดรัดชัดเจนขณะที่ตัวละครพูดจากันผู้เขียนบทจะเขียนบอกผู้แสดงให้แสดงกิริยาท่าทางต่างๆด้วยเช่นร้องไห้หัวเราะเบาเบาๆหอบหวาดกลัวเป็นต้นบางครั้งจะบอกผู้แสดงที่ไม่ได้อยู่หน้าเวทีเช่นเสียงเดินมาเปิดประตูเสียงทะเลาะเสียงปืนเป็นต้นผู้แปลมักจะแตกการบอกบทเช่นนี้ไว้ในวงเล็บบทบรรยายของละครเป็นคำบรรยายฉากสถานที่เวลาและปรากฏตัวของตัวละครส่วนมากจะบรรยายก่อนเปิดม่านวิธีแปลบทละครดำเนินการไปเช่นเดียวกับการแปลเรื่องสั้น นวนิยายนิทาน นิยายคือเรื่องเรื่องด้วยการอ่านสั้นฉบับเพื่อทำความเข้าใจให้ตลอดตั้งแต่ต้นจนจบหาความหมายและคำแปลแล้วจึงเขียนบทแปลด้วยภาษาที่เหมาะสม
การอ่านต้นฉบับบทละคร
อ่านหลายครั้งอ่านครั้งแรกเพื่อทำความเข้าใจเนื้อเรื่องอย่างคร่าวๆตรวจสอบความเข้าใจด้วยการตั้งคำถามใครทำอะไรที่ไหนเมื่อไหร่อย่างไรอ่านครั้งต่อไปเพื่อค้นหาความหมายของคำและวลีที่ไม่รู้จักโดยใช้พจนานุกรมช่วยในหาความรู้รอบตัวเพิ่มเติมเกี่ยวกับต้นฉบับ
หลักการแปลภาพยนตร์
ภาพยนตร์จากต่างประเทศที่ใช้ในโรงหนังเมเจอร์โทรทัศน์ภาพและบทเป็นภาษาไทยหรือพากย์ไทยแล้วจะอำนวยประโยชน์และความบันเทิงให้แก่ผู้ชมมากเลยทีเดียวบทภาพยนตร์ที่นำมาแปรจะถ่ายให้เป็นบทเรียนก่อนนอกจากบางครั้งให้อยู่บนเตียงผู้ป่วยต้องดูและความจากฟรีจุดประสงค์หลักของบทภาพยนตร์แปลมี 2 ประการคือ1 นำบทแปลไปพากย์ 2 นำบทแปลไปเขียนบรรยาย
หลักการแปลนิทานนิยายนิยาย
นิทานเรื่องเล่าเป็นสิ่งที่มีมาแต่โบราณไม่ใช้ตัวอักษรสื่อสารกันคนโบราณถือกันด้วยการบอกเล่าด้วยวาจาคือการอ่านต้นฉบับการเขียนบทแปล
หลักการแปลเรื่องเล่าเรื่องเล่าสั้นๆมีอารมณ์ขันมักจะปรากฏตามหนังสือพิมพ์นิตยสารผู้อ่านต้องเข้าใจของอารมณ์ขันและเมื่อนำมาแปรถ่ายทอดให้ตรงตามต้นฉบับเรื่องเล่ามักจะใช้ถ้อยคำกะทัดรัดไม่มีความกำกวมการอ่านต้นฉบับให้เข้าใจและเขียนบทแรกคือต้องอ่านต้นฉบับเรื่องเล่าต่อมาการเขียนบทแปลการเขียนเขียนบทแปลการใช้ภาษาเป็นภาษาระดับกลางมีความกำกวมมีอารมณ์ขันผู้แปลต้องหาข้อความที่ฟังดูน่าขัน
หลักการแปลการ์ตูนหลักการสำคัญในการแปลคือการใช้คำแปลซี่ซั่นชัดเจนเข้าใจง่ายสื่อความหมายได้สามารถจำกัดจำนวนคำให้อยู่ภายในกรอบคำพูดได้ภาษาในบทสนทนาบทสนทนามีหลายระดับขึ้นอยู่กับตัวละครที่สร้างขึ้นซึ่งผู้แปลต้องใช้ความสังเกตและระมัดระวังการใช้ภาษาให้มีความสอดคล้องกัน
หลักการแปลกวีนิพนธ์เป็นวรรณกรรมที่แต่งเป็นร้อยกรองมีกฎเกณฑ์แน่นอนตายตัวจำกัดจำนวนคำพยางค์บรรทัดเสียงหนักเบาสัมผัสจังหวะจุดมุ่งหมายของกวีนิพนธ์เพื่อให้ความรู้สอนศิลธรรมขณะเดียวกันก็ให้ความบันเทิงเพลิดเพลิน



เทคนิคการเรียน English จากเพลงค่ะ (Learn English with Music)



เทคนิคการเรียน English จากเพลงค่ะ (Learn English with Music)




สอนแปลเพลง ขอเวลาลืม เป็นภาษาอังกฤษ



สอนแปลเพลง ขอเวลาลืม เป็นภาษาอังกฤษ




ชนิดของงานเขียน (Text Types)


ชนิดของงานเขียน  (Text Types)

วิธีการเรียบเรียงเนื้อหาในการเขียน ซึ่งมีโครงสร้างที่เป็นแบบแผน มีคุณลักษณะและมีองค์ประกอบหลักที่ใช้การเขียนสำหรับรูปแบบนั้น  จุดประสงค์ในการเขียนมีหลายประการตามความต้องการของผู้เขียนซึ่งจะเป็นตัวกำหนดรูปแบบการเขียน จุดประสงค์ในการเขียนโดยทั่วไปมีผู้รวบรวมไว้ดังต่อไปนี้

การเขียนแบบบรรยาย ( Descriptive writing) ในการเขียนเรียงความเชิงพรรณนา จะต้องถ่ายทอดให้เห็นเสมือนได้สัมผัส มองเห็น ได้กลิ่นการได้ยินหรือได้รสชาติ ถ่ายทอดความรู้สึกให้ผู้อ่านมองเห็นภาพ สัมผัสได้และเพื่อให้ข้อมูลเพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับผู้อ่าน
การเขียนเล่าเรื่อง ( Narrative writing) เป็นข้อเขียนที่เล่าเรื่องราวที่เป็นจริงหรือแต่งขึ้น ประกอบด้วย การเล่าเรื่องชีวประวัติ ของบุคคลต่างๆ เป็นการเล่าเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์สำคัญของชีวิตบุคคล การเล่าเรื่องที่เป็นบันเทิงคดี (Fictional narrative) เป็นการเล่าเรื่องที่ผู้เขียนแต่งขึ้น และการเล่าเรื่องส่วนบุคคล  (Personal narrative)  เป็นการเล่าเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์สำคัญในชีวิตของผู้เขียน งานเขียนอธิบาย (Expository) เป็นข้อเขียน
งานเขียนที่เป็นสารสนเทศ (Information report) เป็นข้อเขียนที่ให้สารสนเทศตามลำดับที่เป็นเหตุผลเป็นการรายงานข้อมูล จะระวังในเรื่องของการวางแผนดำเนินเรื่อง แต่ละเนื้อหาจะเชื่อโยงกันเป็นพารากราฟและจะสรุปใจความสำคัญไว้ในประโยคสุดท้าย
การเขียนโน้มน้าว (Persuasive) เป็นข้อเขียนที่นำเสนอความคิดเห็นของผู้เขียนและพยายามโน้มน้าวให้ผู้อ่านเห็นด้วย ประกอบด้วย เรียงความที่เป็นความคิดเห็น (Opinion essay) เป็นข้อเขียนที่แสดงความคิดเห็น ทรรศนะ หรือความเชื่อของผู้เขียนที่ไม่อาจพิสูจน์ได้ว่าเป็นข้อเท็จจริง เรียงความที่กล่าวถึงปัญหาและการแก้ไข (Problem-solution essay) เป็นข้อเขียนที่กล่าวถึงปัญหาและโน้มน้าวผู้อ่านให้เชื่อว่า วิธีการแก้ปัญหาของผู้เขียนสามารถแก้ปัญหาได้เรียงความที่กล่าวถึงการสนับสนุนและการคัดค้าน (Pro-con essay) เป็นข้อเขียนที่ประเมินข้อดี ข้อเสียของความคิดหรือสถานการณ์
งานเขียนประเภทกลอนหรือกวี (Poetry writing) สามารถแบ่งลักษณะของประเภทกวีหรือกลอนได้ดังต่อไปนี้ The word poem จะเป็นการที่หนึ่งคำและสร้างเพิ่มจำนวนคำขึ้นไปเรื่อยๆ จากหนึ่งไปสองคำ จากสองคำไปยังสามคำ เป็นอีกหลายคำ
การวิเคราะห์วิจารณ์งานเขียน (Response to literature) เป็นข้อเขียนที่กล่าวถึง  การสำรวจตรวจสอบเกี่ยวกับแก่นของเรื่อง (Theme) โครงเรื่อง (Plot) ตัวละครและด้านอื่นๆของบทในหนังสือ หนังสือทั้งเล่มหรือเรื่องที่อ่าน รวมทั้งคำประพันธ์ประกอบร้อยกรอง
                งานเขียนประเภทกลอนหรือกวี (Poetry writing) สามารถแบ่งลักษณะของประเภทกวีหรือกลอนได้ดังต่อไปนี้ The word poem จะเป็นการที่หนึ่งคำและสร้างเพิ่มจำนวนคำขึ้นไปเรื่อยๆ จากหนึ่งไปสองคำ จากสองคำไปยังสามคำ เป็นอีกหลายคำ the syllable poem จะเป็นการนับพยางค์แล้วนำพยางค์ของคำมาเว้นช่วงจังหวะให้ไพเราะ
การวิเคราะห์วิจารณ์งานเขียน (Response to literature) เป็นข้อเขียนที่กล่าวถึง  การสำรวจตรวจสอบเกี่ยวกับแก่นของเรื่อง (Theme) โครงเรื่อง (Plot) ตัวละครและด้านอื่นๆของบทในหนังสือ หนังสือทั้งเล่มหรือเรื่องที่อ่าน รวมทั้งคำประพันธ์ประกอบร้อยกรอง ประกอบด้วย การบรรยายสั้นๆ เกี่ยวกับตัวละครเป็นข้อเขียนที่เน้น การบรรยายถึงตัวละครสำคัญๆ การสรุปโครงเรื่อง

การเขียนเพื่อประกาศแจ้งความ เชิญชวน เช่น การเขียนประกาศของทางราชการ     การเขียนบัตรเชิญเนื่องในโอกาสต่างๆ     การเขียนเพื่อชักจูง เช่น การเขียนโฆษณาหาเสียง การเขียนเพื่อโฆษณาสินค้า  การเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นและแนะนำ เช่น การเขียนเพื่อแนะนำแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ การเขียนแสดงเหตุผลโต้แย้ง
รูปแบบการเขียนต่างๆมีความแตกต่างกัน โดยจุดประสงค์ในแต่ละประเภทก็ย่อมมีความแตกต่างเช่นกัน การเขียนตามรูปแบบการเขียนที่หลากหลายมีลักษณะแตกต่างกันไปตามจุดประสงค์ของงานเขียน